บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

ภูมิสยามฯ สมทบทุน ร่วมสร้างโรงพยาบาล พระราชสิทธิวราจารย์สร้างพื้นฐานคุณภาพชีวิต — ข่าวกรุงเทพธุรกิจ

posted in: Social Responsibility

ภูมิสยามฯ ร่วมสร้างโรงพยาบาล ร่วมสบทบทุนด้วยการตอกเสาเข็มเป็นปัจจัยในการก่อสร้างโรงพยาบาลพระราชสิทธิวราจารย์สร้างพื้นฐานคุณภาพชีวิต ตอบแทนสังคมที่ทำมาอย่างต่อเนื่อง นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน ร่วมสบทบทุนด้วยการตอกเสาเข็ม เป็นปัจจัยในการก่อสร้างโรงพยาบาลพระราชสิทธิวราจารย์ มูลค่ารวมกว่า 660,000 บาท เพื่อมีส่วนในการร่วมสร้างพื้นฐานคุณภาพชีวิต และถือเป็นกิจกรรมตอบแทนสังคมที่ทำมาอย่างต่อเนื่อง ณ … Read More

ต่อเติมโรงงานหรือเสริมรากฐานเพิ่ม ด้วยเสาเข็ม Spun Micropile

posted in: PILE DRIVING

ต่อเติมโรงงานหรือเสริมรากฐานเพิ่ม ตอกรับพื้นถึงชั้นดินดานเพื่อรองรับโครงสร้างและป้องกันการทรุดตัว ต้องการเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน แนะนำเข็มสปันไมโครไพล์แท้ (Spun Micro Pile) โดยภูมิสยามค่ะ!! เพราะฐานรากดีเริ่มจากเสาเข็มที่สามารถรับน้ำหนักโครงสร้างทั้งหมด เพื่อป้องกันการทรุดตัวที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต เราขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยภูมิสยาม เป็นเสาเข็มที่เหมาะกับทุกงานก่อสร้าง ไม่ว่าจะต่อเติมหรือสร้างใหม่ เพราะเป็นเสาเข็มผลิตจากการสปัน มีความแข็งแกร่งสูง มีความสามารถในการรับน้ำหนักได้ 15-50ตัน/ต้น ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic … Read More

ต่อเติมในโรงงาน ตอกรับพื้น ตอกรับฐานเครื่องจักร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile)

posted in: PILE DRIVING

ต่อเติมโรงงาน ต้องการคุณภาพแนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ (ผลิตจากการสปัน) เป็นเสาเข็มขนาดเล็กที่มีความมั่นคงแข็งแรงสูง เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลางสามารถระบายดินทำให้ลดแรงสั่นสะเทือนระหว่างตอกได้ ไม่กระทบฐานรากเดิม และเสาเข็มสามารถเชื่อมต่อแต่ละท่อนได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า และใชั้ปั้นจั่นแบบพิเศษในการตอก ทำให้สามารถตอกต่อกันได้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็งได้ รองรับน้ำหนักได้ตามมาตรฐานวิศวกรรมการก่อสร้าง และทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test เสาเข็มได้รับมาตรฐานการออกแบบการผลิตและตอก ISO 9001:2015 และการตอกได้มาตรฐานชีวอนามัยด้านความปลอดภัย ISO … Read More

STRUCTURAL STEEL โครงสร้างพื้นที่มีการใช้งานในโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

  สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตอนนี้เรากำลังพูดถึงเรื่องงาน โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL กันอยู่และหลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้พูดถึงหลายๆ เรื่องที่มีความเกี่ยวพันกันกับโครงสร้างเหล็กรูปพรรณไปแล้ว เช่น โครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL … Read More

ปัญหาค่าความกว้างน้อยที่สุด ที่ไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้น เกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมขอทำการสมมติว่า ผมกำลังดำเนินการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างให้แก่ โครงสร้างฐานรากแบบตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION … Read More

วิศวกรรมการคำนวณ – การออกแบบการสั่น อันเนื่องมาจากเครื่องจักร ครั้งที่2

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเอามามาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและหากจะว่ากันด้วยเรื่องรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเนื้อหาทั้งหมดของมันนั้นมีอยู่ด้วยกันค่อนข้างที่จะเยอะมากเลยทีเดียว ดังนั้นเพื่อให้การโพสต์ตลอดก่อนที่จะถึงช่วงปีใหม่นั้นมีความกระชับและได้ประโยชน์สูงสุดผมจึงจะขออนุญาตเลือกหัวข้อที่มีความสำคัญมาก 2 ประเด็นมาพูดถึงนั่นก็คือ 1. รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร 2. รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้พูดถึงหัวข้อที่ 1 เรื่องรูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร และในสัปดาห์นี้ซึ่งก็คือวันศุกร์ที่ 25 ก็จะถือได้ว่าเป็นวันศุกร์สุดท้ายของปี … Read More

ประเภทของฐานราก ทั้งฐานรากชนิดตื้นและชนิดลึก

ประเภทของฐานราก ทั้งฐานรากชนิดตื้นและชนิดลึก มีลักษณะของการก่อสร้างและความสามารถในการรับน้ำหนักที่แตกต่างกัน แบ่งได้ดังนี้ -ฐานแผ่เดี่ยว (Spread Footing) หมายถึงฐานรากที่รับน้ำหนักจากเสาอาคาร เพียงต้นเดียว แล้วถ่ายน้ำหนักลงสู่พื้นดิน ความหนาของตัวฐานต้องสามารถต้านทานโมเมนต์ดัดและแรงเฉือนได้อย่างเพียงพอ และสามารถป้องกันการกัดกร่อนตัวเหล็กเสริมเนื่องจากความชื้น ในบางกรณีที่เสาอาคารไม่วางอยู่บนศูนย์กลางฐานราก เช่นอยู่ติดเขตที่ดินอาจถูกออกแบบให้เสาวางอยู่ด้านใดด้านหนึ่งของฐานราก เราเรียกว่าฐานรากแบบนี้ว่า ฐานรากตีนเป็ด -ฐานต่อเนื่องรับกำแพง (Continuous Footing) หมายถึงฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักจากผนังก่ออิฐ … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” วิธีเบื้องต้นในการประเมินค่ากำลังอัดของคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณ 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมาผมมีโอกาสเดินทางไปตรวจการทำงานก่อสร้างที่หน้างานและบังเอิญไปพบเจอกับปัญหาๆ หนึ่งที่วิศวกรโครงการได้นำเอามาปรึกษากับผม เรื่องนี้ก็คือ จะแก้ปัญหาอย่างไรดีหากว่าค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีตที่ทำการทดสอบได้นั้นออกมามีค่าต่ำกว่าที่เราได้ทำการออกแบบเอาไว้ ซึ่งผมก็ได้ให้คำแนะนำในเบื้องต้นกับวิศวกรท่านนี่ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วและคิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ด้วยหากผมนำเอาประเด็นๆ นี้มาแชร์เป็นความรู้กับเพื่อนๆ ในวันนี้ด้วยนะครับ ก่อนอื่นเลยผมต้องบอกกับเพื่อนๆ ไว้ก่อนว่า … Read More

สมการในการคำนวณหาค่ากำลังของเสาเข็มแบบพื้นฐานจากผลการทดสอบดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ซึ่งคำถามในวันนี้นั้นสืบเนื่องมาจากคำถามในสัปดาห์ที่แล้วซึ่งได้มีแฟนเพจถามเข้ามาเกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาค่ากำลังความสามารถในการรับกำลังของโครงสร้างเสาเข็ม โดยที่ใจความของคำถามก็คือ จากทั้งสามค่าที่ผมได้นำเอามาอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ไปในสัปดาห์ก่อนดังต่อไปนี้ Qt = TENSION CAPACITY OF PILE … Read More

ตอกเสาเข็ม ภายในอาคาร ด้วย เสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และไอไมโครไพล์ I Micropile และการเจาะสำรวจดิน

ตอกเสาเข็ม ภายในอาคาร ด้วย เสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และไอไมโครไพล์ I Micropile และการเจาะสำรวจดิน การจะตอกเสาเข็มจะต้องทำการเจาะสำรวจดิน (Soil Boring Test) เพราะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของการก่อสร้าง เนื่องจากสภาพชั้นดินในหลายพื้นที่ของประเทศไทยนั้น อาจมีความแปรปรวนของชั้นดิน ซึ่งทำให้เกิดความเสียหายอย่างคาดไม่ถึง ก่อนที่วิศวกรจะทำการออกแบบฐานรากให้ดีและเหมาะสมนั้น จึงต้องจัดให้มีการเจาะสำรวจดิน … Read More

1 7 8 9 10 11 12 13 20